วิถีนาฏกรรมของคนชาติพันธุ
นาฏกรรม หมายถึง การเคลื่อนไหวรางกายลักษณะหนึ่งทั้ง มือ เทา แขน ขา นิ้ว ลวนแต่มีลวดลายเลียนแบบตามสิ่งแวดลอมที่อยูรอบตัวหรือไมก็เปนทาทางที่ออกมาจากความรูสึกภายในใจผานจังหวะทํานองของเสียงเพลง (เครื่องดนตรี) เพื่อแสดงฐานะและนัยยะบทบาทบางอยางของตนในสังคมชุมชนภายใตสถานการณพิเศษนอกเหนือจากเวลาชีวิตประจําวันอยางงานเทศกาล งานเฉลิมฉลอง พิธีกรรม ประเพณีทางวัฒนธรรมที่ชาวบ้านมารวมตัวและรื่นเริงตาง ๆ ซึ่งมนุษยนิยามการเคลื่อนไหวเหล่านี้อยูหลายชื่อ ทั้ง “ฟอน” “รํา” และ “รายรํา” เมื่อคุณคาและบทบาทของนาฏกรรมในสังคมกลุมชาติพันธุเกิดการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา และด้วยการเขามาของคนนอก เชน “ฟอนผูไท” ของชาวภูไท ซึ่งเดิมมีไวสําหรับงานบุญพระเวสและงานบุญบั้งไฟตามประเพณีของชาวอีสาน โดยจัดขึ้นในชวงเดือน 6 หลังฤดูเก็บเกี่ยวหรือชวงวางจากงานเกษตรกรรมและการกลับจากการค้าทางไกลของเพศชาย เพื่อรวมตัวชาวบานใหมาชวยกันจัดงานรื่นเริงและเตรียมขบวนแหสําหรับ “ฟอนเอาบุญ” (ฟอนรําเปนคุ้มละ 20-30 คน โดยเดินขบวนแหรอบหมู่บ้านตามแตละคุม เพื่อขอบุญขอทาน เชน เหลา เงินบริจาค เปนตน) ซึ่งผูฟอนหลักจะเปนผูชาย เพราะมีบทบาทสําคัญในการแสดงตัวตน ความเปนชาย ความแข็งแกรง และเพื่อประกาศตัววาตนกลับมาถึงหมูบานแลว ผานการแสดงทารําตาง ๆ ที่เกิดจากความคิดอิสระของผูฟอน ทําใหทารําบางทาคลายรํามวย แต่สวนมากจะเลียนแบบกิริยาของสัตวและธรรมชาติที่พบเห็น แสดงถึงความใกลชิดของมนุษยกับธรรมชาติในสังคมเกษตรกรรม ระหวางนั้นในฝั่งของผูหญิง หากชอบพอชายคนไหนก็จะเขาไปรําดวย ทารําของผูชายจึงมีทาทีเพื่อเกี้ยวพาราสีและแสดงจุดเดนของตนแกเพศหญิงเพื่อหาคูครอง แตเมื่อคนนอกซึ่งมีบรรดาศักดิ์ระดับผูปกครองสูงสุดของประเทศอยาง "พระมหากษัตริย" เสด็จเขามาในชุมชน การแสดงฟอนผูไทจึงเริ่มถูกจัดระเบียบ ประดิษฐทารําใหสวยงาม ดวยการลดบทบาทเดิมของผูชายแล้วเพิ่มความออนชอยและความงดงามของผูหญิงเขาไปแทน โดยมีปญญาชนทองถิ่นเปนผูออกแบบและถายทอดวิถีนาฏกรรมฉบับทางการ เพื่อแสดงอัตลักษณวัฒนธรรมของชาติพันธุนั้นสูสายตาของคนนอก โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อคนนอกมีฐานะสูงสุดในประเทศ ด้วยความตองการแสดงตัวตนออกมาให้รู้สึกถึงความใกลชิด และในปจจุบัน อิทธิพลจากธุรกิจทองเที่ยวได้สงผลตอการแปรเปลี่ยนของฟอนผูไทให้กลายเปน “การแสดง” สําหรับตอนรับนักทองเที่ยวแทน (พิเชฐ สายพันธ, อางถึงในนาฎกรรมสังคมในวัฒนธรรมแหงการฟอนของชาวผูไท : 1-6)
นอกจากฟ้อนผู้ไทแลว ยังมีการละเลน “จุเปาะ” ของชาวมง และ “สะบ้าบ่อน” ของชาวมอญ เริ่มจาก "จุเป๊าะ" คือ ภูมิปญญาการละเลนที่ไดรับการสืบทอดมาอยางยาวนานและมีไวเพื่อการเกี้ยวของหนุมสาว จุเป๊าะมักจะเลนในชวงปใหม หรือ ช่วงสงกรานตในเทศกาลปใหม่ม้งที่เรียกวา “นอเปโจวฮ (Nog peb caug)” โดยแบงออกเปน 2 สวนหลัก ๆ (อางอิงจากการเขาไปสัมภาษณกับคนเกาคนแกในชุมชน) ได้แก่ พิธีกรรมอัวดาคัว หรือก็คือการฆาไก่เซ่นไหวบรรพบุรุษ ผี และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เพื่อความมงคลในชวงปใหม ซึ่งผู้ทำพิธีจะจุดตะเกียงตลอดทั้ง 3 วัน 3 คืน และการละเลนผสมกับการเฉลิมฉลองเรียกวา “จาเหาตอ” ที่ภายในงานจะมีทั้งรองรํา โยนลูกชวง เลนลูกขาง และเปาแคนไฮกื๋อเจี้ย ลักษณะการเลน “จุเปาะ” คือ ฝายหญิงหรือญาติฝ่ายหญิงต้องสงลูกชวงใหฝายชาย โดยฝายหญิงจะเปนฝงโยนลูกชวงกอน สวนฝายชายจากอีกฝงหนึ่งจะยืนแถวหนากระดานหันหนาเขาหาฝายหญิงใหมีระยะหางไมใกลไมไกลแลวจึงโยนลูกชวงรับส่งไปมา ในขณะที่โยน ทั้งสองฝายจะสนทนาเกี้ยวพาราสีกัน หากฝายหญิงไมพอใจก็จะไมโยนลูกชวงดวย ลักษณะการเลนแบบนี้มีความคลายคลึงกับการละเลน “ตอดมะกอน” หรือการโยนลูกชวงของกลุมชาติพันธุไทยทรงดํา จุเปาะจึงถือเปนประเพณีเกี้ยวสาวตามคํานิยามของผูวิจัยที่มีไวเพื่อการพบปะกันของหนุมสาวใหถูกตองครรลองคลองธรรมตามกุศโลบายของกลุมชาติพันธุมง [ธนวรรณ เวียงสีมา และ จิรวัฒน พิระสันต, อางถึงใน จุเปาะ : เลนเพื่อรัก... วัฒนธรรมการเลือกคู (Ntsum Pob : Play for Love the Culture Choose Mate) :]
สวน "สะบาบอน" ของชาวมอญพระประแดง มีมาตั้งแต่โบราณและจะจัดขึ้นในชวงเทศกาลสงกรานต นั่นคือตั้งแตวันที่ 13 เมษายน โดยจุดประสงคของการละเลนสะบาบอนนี้มีไวเพื่อการพบปะพูดคุยระหวางกันของหนุมสาวชาวมอญ จากบทความวิจัยของ กษิด์เดช เนื่องจํานงค์ ผูศึกษาเรื่องสะบาบอนที่เห็นวาการละเลนนี้ไมเนนผลแพชนะ แตจะใหความสําคัญกับพินิจรูปรางหนาตา บุคลิกภาพ มารยาท การสนทนา รวมไปถึงความผิดปกติทางกายภาพของหนุมสาว ดังนั้น ทารําจึงถูกออกแบบมาใหหนุมสาวไดใกล้ชิดและมีโอกาสสังเกตรูปรางหนาตาของอีกฝาย ในด้านขนมธรรมเนียมการเลนก็มีข้อปฏิบัติที่สืบทอดกันมาอยางยาวนาน นั่นคือ หนุ่ม(สะบ้า)สาว(ประจําบ่อน) หามถูกเนื้อต้องตัวกัน ตองไมมีความเกี่ยวพันทางสายเลือด และตองมาจากคนละหมูบาน ภาษาที่ใชสื่อสารเกี้ยวพาราสีกันเดิมคือภาษามอญ แตในปจจุบันภาษามอญเริ่มกลายเปนภาษาตายไปตามกาลเวลา จึงหันมานิยมใชภาษาไทยแทน อีกทั้งดวยความเจริญในสังคมโลกาภิวัฒนก็สงผลกระทบตอภูมิปญญาดั้งเดิมของการเลนสะบาบอน จากที่มีไวเพื่อการพบปะและหาคูครองของหนุมสาวกลายเปนการแสดงอัตลักษณทางวัฒนธรรมหรือขายวัฒนธรรมแกการทองเที่ยวแทน เพื่อรักษาใหการละเลนนี้ยังคงสามารถมีอยูและสืบทอดตอไป เชนเดียวกันกับการละเลนอิ่นกอนฟอนแคนของไทยทรงดําที่มีขนบธรรมเนียมคลายกัน นั่นคือ หนุมสาวที่มาพบปะกันตองมาจากคนละหมูบานและจะโตตอบพูดคุยกันเพื่อหาคู่ครองที่ถูกใจ ซึ่งการละเล่นนี้จัดขึ้นในชวงเทศกาลสงกรานตเหมือนกัน และแนนอนว่าในปจจุบันก็มีไวในฐานะภูมิปญญาทางวัฒนธรรมสําหรับการทองเที่ยวเพื่อสืบทอดตอใหแกรุนลูกรุนหลาน (กษิดเดช เนื่องจํานงค, อางถึงใน สะบาบอน: พลวัตทางวัฒนธรรมในบริบทของสังคมไทยรวมสมัย :)
การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยที่เริ่มเกิดความเจริญกาวหน้าทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีด้านคมนาคมอย่างการสรางถนน ทําใหผูคนภายนอกสามารถเขามาในชุมชนของกลุมชาติพันธุ์ได้ง่ายขึ้น อีกทั้งดวยความเจริญก็ดึงดูดใหลูกหลานชาติพันธุ์รู้สึกสนใจหนาที่การงานในเมืองมากกวาที่จะสืบทอดวิถีชาวนาตอไป บทบาทของนาฏกรรมในงานเทศกาลที่มีไวเพื่อการรวมตัวและการจัดงานรื่นเริงของชาวบาน รวมถึงการแสดงตัวตนตอหหน้าตรงขามเพื่อสรางครอบครัวจึงไมเขมขนเทาในอดีตและเริ่มเลือนหายไป นอกจากนี้ความเปนวัฒนธรรมส่วนตัวภายในชุมชนกันเองก็ถูกขับเคลื่อนดวยกระแสการทองเที่ยวใหออกจากพื้นที่สวนตัวสูสังคมสาธารณะในฐานะการแสดงทางวัฒนธรรมแทน การปรับตัวตามเงื่อนไขที่บีบใหคนกลุมชาติพันธุในชุมชนไมสามารถดํารงชีวิตไดเพียงอาชีพเกษตรกรรม เนื่องด้วยการเข้ามาของนายทุนและกระบวนการจัดสรรพื้นที่ (เชา ซื้อที่ดิน) ทําใหคนชาติพันธุ ตองหารายไดเขาชุมชน อีกทั้งยังตองรักษาความเปนชาติพันธุของตนไวไมใหสูญหายไปตามกาลเวลา เนื่องจากลูกหลานเน้นการเขาสังคมเมืองมากกวา สงผลใหชาติพันธุนั้น ๆ ปราศจากผูสืบทอด
วัฒนธรรมหาคูของไทยทรงดำ
‘การละเลน’ คือนันทนาการพื้นบานเพื่อความสนุกสนานสําหรับเด็ก หากแตการละเลนของไทยทรงดํานั้นมิไดมีไวเพียงเพื่อความเพลิดเพลินของคนวัยเยาว เปาประสงคที่เกี่ยวพันถึงการเชื่อมความสัมพันธระหวางคนสองคนในวัยหนุมสาวและนําไปสูการสรางครอบครัวในอนาคต ทําใหการละเลนนี้ไดรับการสืบทอดตอกันมาจนกลายเปนวัฒนธรรมอันเปนเอกลักษณของไทยทรงดําจนถึงปจจุบัน
“อิ่น กอน ฟอน แคน คําวาอิ้นกอนฟอนแคนมันคือการละเลน”
คําบอกเลาจาก ‘นาออย’ หนึ่งในสมาชิกและแมงานจาก ‘ศูนยวัฒนธรรมไทยทรงดําบานหัวเขาจีน’ ณ ตําบลหวยยางโทน อําเภอปากทอ จังหวัดราชบุรี กําลังเลาถึงหนึ่งในการละเลนสําคัญอันเปนประเพณีที่สืบทอดตอกันมาหลายต่อหลายรุน ตั้งแตการอพยพของบรรพบุรุษที่มีชื่อวา “อิ่นกอนฟ้อนแคน” หรือแปลไดความวา “การละเลนของไทยทรงดํา” การละเลนหรือเทศกาลสําหรับการพบปะพูดคุยกันของคนหนุมสาวดวยความหวังที่วาจะไดเจอเนื้อคูที่ใช คูครองที่เหมาะสม และสามารถนําไปสูพิธีแตงงานเพื่อสรางครอบครัวและแผขยายความเปนไทยทรงดําใหมั่นคงแน่นแฟ้นภายในชาติพันธุ์มากขึ้น โดยการละเลนนี้จะจัดขึ้นตั้งแตเดือน 5 ขึ้น 1 คํ่า และสิ้นสุดในเดือน 5 หรือกล่าวสั้น ๆ คือจะจัดในชวงเทศกาลสงกรานต เพราะเดือน 5 ถือเปน “เดือนรอน” เดือนที่ชาวบานจะพักผอนจากการทําไรทํานา ทําใหเดือนนี้ถือเปนเดือนวางงาน และชาวไทยทรงดําสามารถจัดงานเทศกาลขึ้นมาสังสรรครวมกันได นอกจากนี้ ยังมีเรื่องราวเบื้องหลังของเครื่องดนตรีที่มีบทบาทสําคัญใน "อิ่นกอนฟอนแคน" นั่นก็คือ ‘แคน’ เพราะอยางที่นาออยได้กล่าวไววา “คําวาแคนเนี่ย... มันคือ.. การเปาแคนคือการละเลน” หรือสามารถเรียกไดอีกอยางวา ‘การเลนแคน’
‘แคน’ คือเครื่องดนตรีโบราณของภาคอีสาน แตทั้งนี้แคนไมไดถูกจํากัดอยูแคภายในประเทศไทย แตยังเปนที่นิยมอยางแพรหลายของประเทศตาง ๆ ในเอเชีย ไมวาจะเปนเวียดนาม ลาว จีน ญี่ปุ่น เกาหลี โดยในประวัติศาสตรของแคนนั้นมีพื้นฐานจากวัฒนธรรมดองซอนอันเปนอารยธรรมเกาแกที่มีศูนยกลางตั้งอยูในแถบภาคกลางของเวียดนามตั้งแต่ 2-3 พันปีก่อน ในสมัยนั้นยังเปนสังคมนับถือผี และฐานะของผูหญิงอยูเหนือกว่าผูชายในทางพิธีกรรม แคนเคยถูกใชเปนเครื่องมือในการเปาเรียกผีกอนที่ตอมาจะพัฒนากลายเปนเครื่องดนตรีแทน จนกระทั่งการเขามาของศาสนาพราหมณ-ฮินดูและศาสนาพุทธได้สงผลใหสังคมเริ่มเปลี่ยนทิศทางและฉายแสงอํานาจใหแกผูชายแทนผูหญิง ในปจจุบัน วัฒนธรรมดองซอนนั้นไมหลงเหลือแลว จากภูมิศาสตรและประวัติศาสตรของกลุมชาติพันธุไทยทรงดําที่อพยพจากเวียดนามลงมายังประเทศไทยผานเขตภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ กลาวไดวาตนกําเนิดของแคนที่กลายมาเปนเครื่องดนตรีคูวัฒนธรรมลาวและภาคอีสานของไทยได อาจเปนเพราะการเขามาของคนไทยทรงดํา ในปจจุบัน “อิ่นกอนฟอนแคน” ยังคงใชเสียงแคนในการประกอบประเพณีอยูเชนเคย
แคนในการละเล่นอิ่นกอนฟอนสรรสรางเพลงสําหรับใชในการละเลนนี้ไวอยางหลากหลายเพราะจากชื่อเรียกของ “อิ่นกอนฟอนแคน” แนนอนวาจะตองมีการฟอนรําและรองเพลงเพื่อตอบโตกันระหวางชายหญิง เพลงแคนจึงขับเคลื่อนบรรยากาศการละเลนใหมีความสนุกสนาน แตละเพลงแคนมีทารําแตกตางเฉพาะ ยกตัวอยางเชน ‘แคนญาง’ เป็นเพลงช้า เพื่อแสดงถึงการเกี้ยวพาราสีระหวางหนุมสาวและทำให้ท่ารำมีทวงทาออนชอย ‘แคนเวียง’ จะบงบอกถึงความใกลชิดระหวางหนุมสาว ‘แคนแล่น’ มีจังหวะเร็วและแสดงถึงการปดปองของผูหญิงเมื่อผูชายเริ่มถึงเนื้อถึงตัว เปนตน สิ่งเหลานี้แสดงใหเห็นวา ‘แคน’ ไมใชแคเครื่องดนตรีธรรมดา แตยังเปนสิ่งลํ้าคาที่อยูคูกับไทยทรงดํามานานจนกลายเปนหนึ่งในวิถีชีวิตที่ไมสามารถขาดหายไปได
“วาแลว วาแลว” ความนาสนใจหนึ่งของการโตตอบในลักษณะการปะทะฝปากกันระหวางฝายชายและฝายหญิง หรืออาจเห็นภาพไดชัดขึ้นคือสามารถเปรียบได้กับการแสดงลําตัดและเพลงฉอย ในการละเลน “อิ่นกอนฟอนแคน” เรียกวา ‘คําเซิ่งแคน’ โดยการแขงขันโตตอบกันจะไตระดับขึ้นไปเรื่อย ๆ ในรสชาติที่แตกตางกัน มีทั้งหวาน ขม รุนแรง และหยอก ลอ ทั้งนี้ ทุกคําพูดที่หยอกล้อหรือด่ากันไมมีผลตอชีวิตประจําวัน เปนเพียงการเล่นกันของชายหญิงและจบลงภายในการละเลนเทานั้น
ในอดีต การเล่นอิ่นกอนฟอนแคนนั้นจะเริ่มขึ้นเมื่อฝ่ายหญิงจากหมูบานหนึ่งเปดขวง หรือการเปดหมูบานใหฝายชายจากอีกหมูบานหนึ่งเขามาเลนอิ่นกอนฟอนแคนดวยกัน โดยผูหญิงตองเปนผูเตรียมงานรวมถึงกับขาวกับปลาทั้งหมด อีกทั้ง ผู้หญิงทุกคนจะแตงหนาแต่งตัวใหสวยงาม โดยเครื่องแตงกายในงานอิ่นกอนฟอนแคน ผูหญิงจะสวมผาซิ่นลายแตงโมและเสื้อกอมเท่านั้น เพื่อใหอีกฝายรู้ว่าเปนคนไทยทรงดํา และจํานวนกระดุมบนเสื้อก้อมก็บงบอกไดถึงสถานะของผูหญิงและสงผลตอการเขาหาของผูชาย เพราะยิ่งมีกระดุมเยอะ เทากับวาผูหญิงคนนั้นมีฐานะดี มีทรัพยสินมาก ฝายชายก็จะเขามาใหความสนใจเยอะมากกว่าคนที่มีกระดุมเสื้อกอมนอยกวา สวนเครื่องแตงกายของผูชายในอิ่นกอนฟอนแคนจะสวมเสื้อไท ซวงกอมหรือกางเกงยาวสีดํา และมีกระเปาผาคาดไวที่เอว
วิธีการเลนอิ่นกอนฟอนแคน คือ เริ่มแรกฝายชายจะตองเล็งหญิงสาวที่ถูกใจและจดจําลักษณะของหญิงสาวผูนั้นใหละเอียดที่สุดตั้งแตทรงผม ลูกตา คิ้ว มือ เพราะเมื่อถึงเวลา ‘โอสาว’ หรือการนําผาสไบมาคลุมตัวฝายหญิงเพื่อปดบังตัวตน ฝายชายหรือบาวตองทายใหไดวาผูหญิงที่เล็งไวคนนั้นคือใคร จึงจะสามารถเขาไปจีบและนั่งคุยกับอีกฝายได หากทายผิดคน ก็ตองพูดคุยกับผูหญิงที่เราเลือกทาย เวนแตว่าจะสามารถแลกเปลี่ยนกับเพื่อนอีกคนหนึ่งได
การละเล่นเพื่อเปดพื้นที่สังคมใหแกหนุ่มสาวได้มาเกี้ยวพาราสีไมไดมีเพียงกลุมไทยทรงดําเทานั้น กลุมชาติพันธุอื่น ๆ เองก็มีวัฒนธรรมการละเลนในลักษณะเดียวกันเชนกัน ยกตัวอย่าง การเลน “ทอยสะบา” ของชาวกะเหรี่ยงซึ่งจะจัดขึ้นในชวงงานบุญสงกรานตเทานั้น มีลักษณะเพื่อเชื่อมสัมพันธใหความผอนคลายและความสนุกสนาน ยังมี “กะเหรี่ยงกระทบไม” การละเลนที่อาศัยจังหวะการกระทบไม โดยมีวิธีเลนคือการเคาะไมไผหลายคูพรอมกัน แลวหนุมสาวก็จะเขาไปเตนรําและเกี้ยวพาราสีกัน การละเลนกระทบไมนี้นับว่าเป็นที่นิยมอยางมากในวงอาชีพชาวไรชาวนาที่จะออกมาเลนหลังชวงฤดูเก็บเกี่ยวหรือชวงวางงานจากการทํานาเชนเดียวกับการละเลน “อิ่นกอนฟอนแคน”
จากการสังเกตและวิเคราะหลักษณะของการละเลนอิ่นกอนฟอนแคนผนวกกับความเชื่อเรื่องผีที่เปนจุดเดนของไทยทรงดํา บงชี้ใหเห็นถึงนัยยะของสังคมปตาธิปไตย การเปดขวงของผูหญิงจะไมมีความหมายและการละเลนนี้จะไมมีทางเกิดขึ้น หากไมใชเพราะผูชายเขามาในหมูบานที่เปดขวงแลว การละเลนเพื่อเกี้ยวพาราสีกัน มักจะเปนฝายชายที่ตองเขามาหาผูหญิงกอน ขณะที่ผูหญิงทําไดเพียงรอคอยใหมีคนมาสนใจและอาจถูกตัดสินจากอีกฝายผานการแตงกายภายนอก อยางเชนจํานวนกระดุมที่บงบอกถึงสถานะทางการเงิน ทําใหโอกาสของผูหญิงที่ไมไดมีทรัพยสินอะไรมาก อาจถูกมองขามจากฝายชายไดงาย ๆ หรืออยางผาซิ่นเองก็เชนกัน ในสมัยโบราณ การทอผาซิ่นถือเปนงานสําคัญของผูหญิง การแสดงบทบาทและสถานะสังคมของผู้หญิงจึงมักถูกนําเสนอผานความงามของผ้าซิ่น ยิ่งผาซิ่นสวยเทาใด ฝายชายก็ยิ่งใหความสนใจมากเทานั้น เพราะความงดงามของผาซิ่นอาจทําใหฝายชายเห็นถึงความขยันและความตั้งใจของผูทอหรือผูหญิงได โดยเฉพาะอยางยิ่งการแสดงความเปนแมศรีเรือน สิ่งเหลานี้สะทอนใหเห็นถึงอิทธิพลการกดทับผูหญิงในสังคมชายเปนใหญ่ที่มีอยูอยางแพรหลายในดินแดนอุษาคเนย สังเกตไดจากความเชื่อเรื่อง ผาซิ่น คือ ตัวแทนสถานะของผูหญิงทั้งในวัฒนธรรมลานนาและลาว รวมถึงไทยทรงดําซึ่งแตเดิมมีถิ่นกําเนิดมาจากทางตอนเหนือของเวียดนาม ณ แควนสิบสองจุไทย
การคงอยูของอิ่นกอนฟอนแคนในปจจุบัน แมวาจะยังคงมีใหเห็นอยูตามชุมชนไทยทรงดําในจังหวัดต่าง ๆ แตก็เปนเพียงการแสดงเพื่อสืบทอดวัฒนธรรมตอใหแกรุ่นลูกรุ่นหลานเทานั้น มิไดมีไวเพื่อการพบปะของหนุ่มสาวอยางที่เคยเปนมาอีกตอไป เงื่อนไขที่ส่งผลใหเป็นเช่นนี้ก็เพราะความกาวหนาความเจริญที่เข้ามาในวิถีชีวิตของพวกเขา อีกทั้งคนยุคกอน ๆ ที่เคยมีชีวิตอยูในช่วงที่อิ่นกอนฟอนแคนยังคงเปนประเพณีสําหรับการหาคูครองก็คอย ๆ สูญหายไปทีละคน จึงไมมีใครสืบทอดความดั้งเดิมนี้ต่อ เมื่อความกาวหนาเริ่มเขามา เด็กยุคหลังในชุมชนก็ใหความสําคัญกับการงานอาชีพที่มากยิ่งกวาการทํานา คนไทยทรงดำรุ่นใหม่จึงเริ่มนิยมเขาไปทํางานในเมืองและระหวางนั้นเองก็คงไมใชเรื่องแปลกหากจะมีแฟนกลับมาจากในเมืองใหที่บานไดชื่นชม หรือหากไมนับเรื่องความนิยมการเขาเมืองใหญ เด็ก ๆ ไทยทรงดําก็สามารถพบเจอกับเรื่องรัก ๆ ใคร ๆ ไดตั้งแตชวงวัยเรียน เนื่องดวยระบบของสังคมโรงเรียนที่มีความหลากหลาย เด็กนักเรียนเมื่อมารวมตัวกันก็เปนเรื่องงายที่จะมีเรื่องราวของการแอบชอบกัน สิ่งเหลานี้จึงเปนเหตุผลที่ทําใหความดั้งเดิมในการละเลนอิ่นกอนฟอนแคนสำหรับการพบปะของหนุมสาวไมมีความจําเปนอีกตอไป
วัฒนธรรมท่ีมีมาตั้งแตการอพยพและสืบทอดตอกันมาตั้งแตเกิดประเพณีอันเป็นเอกลักษณที่ยึดโยงคนไทยทรงดําทั่วประเทศไทยใหไดมาพบปะเจอหนากัน แมวาความดั้งเดิมจะเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาแต่หากมันไมสูญ การละเลน “อิ่นกอนฟอนแคน” ก็จะคงอยูตลอดไป เพราะการละเลนนี้ไมไดเปนเพียงแคการเลนแตยังเป็นการรวมสํานึกในความเปนไทยทรงดําใหเหนียวแนนจนไมมีวันแยกขาดออกจากกันได
วันที่ 11-14 สิงหาคม 2566
ณ ศูนยวัฒนธรรมบานหัวเขาจีน ตําบลหวยยางโทน อําเภอปากทอ จังหวัดราชบุรี