ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
(องค์การมหาชน)
ค้นคว้า
สร้างสรรค์
ย้อนกลับ
สร้างสรรค์
สร้างคอนเทนต์
สร้างคอลเล็กชัน
สร้างโครงการ
สร้างใบงาน
ย้อนกลับ
สร้างใบงาน
Timeline
Organization chart
Basic flow chart
Whiteboard
Map route
Mind map
แบ่งปัน
เรียนรู้
ย้อนกลับ
เรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้
หลักสูตร
วิธีการใช้งาน
ตัวช่วยการมองเห็น
ย้อนกลับ
ตัวช่วยการมองเห็น
ก
ขนาดเล็ก
ก
ขนาดปกติ
ก
ขนาดใหญ่
ขยายขนาดตัวอักษร
C
ธีมปกติ
C
ธีมมืด
C
ธีมตาบอดสี
ปรับชุดสี
ขยายขนาดตัวอักษร
ปรับชุดสี
ย้อนกลับ
ขยายขนาดตัวอักษร
ขนาดเล็ก
ขนาดปกติ
ขนาดใหญ่
ย้อนกลับ
ปรับชุดสี
ธีมปกติ
ธีมมืด
ธีมตาบอดสี
เข้าสู่ระบบ
คุณยังไม่มีโครงการ กรุณาสร้างโครงการ
ตกลง
คอนเทนต์
เครื่องแต่งกาย (การ์ดเกม ผี พระ เจ้า)
เผยแพร่ 15 พ.ย. 66
56
0
0
เครื่องแต่งกาย (การ์ดเกม ผี พระ เจ้า)
มรดกวัฒนธรรม และภูมิปัญญา
ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม
เครื่องแต่งกาย
ผู้นำเข้าข้อมูล
ทินกร ศรีหาภาค ส่งเสริม
ผู้นำเข้าข้อมูล
คำสำคัญ
เสื้อผ้า
เครื่องนุ่งห่ม
อาภรณ์
เครื่องแต่งกาย
เครื่องแต่งกายสาหรับบุคคลที่เตรียมตัวบวช การแต่งชุดนาคจะนุ่งผ้าสีขาวลักษณะคล้ายจีบหน้านางคาดเข็มขัดเงิน เข็มขัดทอง หรือเข็มขัดนาค สวมเสื้อสีขาวแขนยาว และสวมคลุมด้วยเสื้อคลุมลายลูกไม้หรือครุย คล้ายสมมุติว่าเป็นดังเทพบุตร ซึ่งจะบ่งบอกถึงความสะอาดบริสุทธิ์ ทั้งกาย วาจา ใจ ของผู้ที่จะบวช
เครื่องนุ่งห่มสาหรับพระภิกษุ มีชื่อเรียกเฉพาะว่า จีวร โดยประกอบด้วยผ้า 3 ผืนของภิกษุ คือ อันตรวาสก (สบง คือ ผ้านุ่ง) อุตราสงค์ (จีวร คือ ผ้าห่ม) และสังฆาฏิ (ผ้าทาบ) นอกจากนี้ คาว่า กาสาวะ หรือ กาษายะยังใช้เรียกไตรจีวรของพระภิกษุทั้งนิกายเถรวาทและมหายาน โดยหมายถึงผ้าย้อมด้วยน้าฝาด ซึ่งในแต่ละนิกายอาจใช้โทนสีย้อมที่ต่างกันออกไป
ชุดซิสเตอร์คือเครื่องแต่งกายของนักบวชหญิง ที่เรียกว่า ภคินี (มักเรียกทับศัพท์ว่า "ซิสเตอร์") ในนิกายโรมันคาทอลิก และนิกายออร์ธอดอกซ์ ประกอบด้วย เสื้อคลุมแขนกว้าง เข็มขัด ผ้าคลุมผม เป็นต้น การสวมชุดนักบวชเป็นสัญลักษณ์ของการเริ่มต้นชีวิตใหม่ด้วยความเชื่อมั่นและไว้วางใจในพระเยซูคริสต์ ในประเทศไทยนั้น คณะนักบวชหญิงมีหลายคณะ แต่ละคณะแต่งกายแตกต่างกันไป สีของชุดที่สวมใส่แตกต่างกันไปตามวาระ เช่น ชุดสีขาว
กางเกงผ้าเนื้อหนาสีฟ้าที่ได้รับความนิยมทั่วโลกมาอย่างยาวนาน ผ้ายีนส์ปรากฏครั้งแรกที่เมืองเจนัว ประเทศอิตาลี ซึ่งคนฝรั่งออกเสียงว่า Gênes จึงเป็นที่มาของคาว่า Jeans หรือ ยีนส์ ผ้าจากเมืองเจนัวถูกแปรเป็นเสื้อผ้าหลายชนิด และโด่งดังขึ้นเรื่อยๆ จากความคงทน ทาให้คนงานชายในทศวรรษที่ 1910 1930 ในสังคมอเมริกันยึดถือกางเกงยีนส์เสื้อน้าเงินเป็นเครื่องแบบ ต่อมาทศวรรษที่1950 ยีนส์กลายเป็นวัฒนธรรมป๊อบในวงการแฟช
อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment PPE) เป็นเครื่องแต่งกายพิเศษและวัสดุอุปกรณ์ที่บุคคลใช้สวมใส่ปกปิดร่างกาย เพื่อป้องกันการสัมผัสเชื้อโรค ลดโอกาสการติดเชื้อ โดยแบ่งเป็น 2 ประเภทตามการใช้งาน ได้แก่ ประเภทใช้ครั้งเดียวทิ้ง เช่น ถุงมือยาง หน้ากากอนามัย หมวกคลุมผม และประเภทที่สามารถนากลับมาใช้ได้อีก เช่น แว่นตานิรภัย รองเท้า
เสื้อผ้าของคนที่ทาหน้าที่ประกอบพิธีกรรมในฐานะร่างทรงที่ติดต่อกับวิญญาณภูติผี ชุดหมอผีไม่มีรูปแบบตายตัว ในบางวัฒนธรรมหมอผีหรือคนทรงแต่งกายด้วยผ้าแบบพื้นถิ่น เช่น มม๊วดในวัฒนธรรมเขมร มักนุ่งโสร่ง โดยมีผ้าพาดบ่าและถือดาบ ผีฟ้านางเทียน มักนุ่งผ้าซิ่น หมอแคนมักใช้ผ้าขาวม้าพาดบ่าหรือคาดเอว เป็นต้น ส่วนในวัฒนธรรมสมัยนิยม เสื้อผ้าของหมอผีในภาพยนตร์มีภาพจาเป็นชุดขาวล้วนคล้ายนักบวชและมีหัวกะโหลกเป็นเครื่องป
เครื่องแต่งกายทาจากหวดนึ่งข้าวเหนียวตกแต่งด้วยสีสันและวาดหน้าตาให้ดูน่ากลัวใช้ในประเพณีแห่ผีตาโขน ในงานบุญหลวงของคนลุ่มแม่น้าหมัน หรือไทเลย ซึ่งในความเชื่อดั้งเดิมการเล่นผีตาโขนเพื่อถวายดวงวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ อาจเกี่ยวข้องกับการละเล่นปู่เยอ ย่าเยอของชาวหลวงพระบาง ประเพณีไหว้ผีขนน้าของชาวนาซ่าว เชียงคาน และประเพณีผีตาโม่ ของชาวหล่มเก่า ต่อมาการแห่ผีตาโขนถูกนาไปผูกโยงเข้ากับความเชื่อในพุทธศาสนา ตามฮี
เครื่องประดับกายคล้องเฉวียงบ่า อาจเป็นสังวาลหรือด้ายมงคล แสดงถึงการผ่านพิธีเกิดครั้งที่สอง คือ หลังสาเร็จการเรียนพระเวท (อุปนยนะ) ของวรรณะพราหมณ์ กษัตริย์ และแพศย์เท่านั้น บางท้องถิ่นอาจมีธรรมเนียมสายคล้องที่ต่างสีและวัสดุเพื่อแสดงวรรณะด้วย สายยัชโญปวีตยังใช้เป็นเครื่องบูชาเนื่องในขั้นตอนพิธีกรรมบูชาเทพเจ้า และมีธรรมเนียมปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง อาทิ การเปลี่ยนสาย การเพิ่มจานวนสาย หรือเปลี่ยนวิธีการคล
ผ้านุ่งชายแบบพื้นเมืองในประเทศอินเดีย มีชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามสาเนียงภูมิภาค ต่อมาเสื่อมความนิยมลงในชีวิตประจาวันเนื่องจากการเข้ามาของการสวมกางเกง แต่ในมิติศาสนา ยังคงธรรมเนียมให้พราหมณ์และนักบวชนุ่งผ้าโธตี และคนทั่วไปยังคงสวมใส่เวลาเข้าสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ หรือเข้าพิธีสาคัญทางประเพณี
ผ้าคลุมศีรษะของผู้หญิงมุสลิม ซึ่งศาสนาอิสลามระบุให้ผู้หญิงสวมผ้าคลุมผม จนปิดคลุมทุกส่วนของร่างกาย ยกเว้นหรือเห็นได้เฉพาะใบหน้าและฝ่ามือ นั่นหมายถึงต้องคลุมเท้าด้วย โดยผ้าต้องยาวคลุมหน้าอก สีสันและลวดลายเน้นความสุภาพและไม่เป็นที่ดึงดูดสายตา ซึ่งรูปแบบของการคลุมฮิญาบนั้นก็จะแตกต่างกันไปตามพื้นที่และวัฒนธรรมของแต่ละบุคคล
กะปิเยาะห์ เป็นเครื่องแต่งกายที่ชาวมุสลิมผู้ชายสวมใช้ใส่ในการประกอบศาสนกิจ หรือประกอบพิธีละหมาด รวมทั้งในชีวิตประจาวันเช่นกันในบางพื้นที่ ทั้งนี้ กะปิเยาะห์ยังช่วยเก็บรวบเส้นผมเพราะชาวมุสลิมจะต้องใช้หน้าผากแนบกับพื้นเพื่อแสดงความเคารพต่อพระเจ้า ขณะละหมาด
กำไลโลหะการ่าเป็นเครื่องหมายแห่งการอดกลั้น ถ่อมตนและเป็นเครื่องเตือนใจชาวซิกข์ว่า พวกเขานั้นมีพันธะผูกพันทางศีลธรรม การ่าเป็น 1 ใน 5 ศาสนสัญลักษณ์ที่เป็นเครื่องแต่งกายของชาวซิกข์ที่ต้องพกหรือประดับกายในชีวิตประจาวัน “ก 5 ประการ” ซึ่งเป็นศาสนสัญลักษณ์ที่ชาวซิกข์ต้องยึดถือหลังเสร็จพิธีล้างบาป (ปาหุล) ประกอบด้วย (1) เกศา (การไว้ผมยาว) (2) กังฆะ (หวี) (3) การ่า (กาไล) (4) กาช่า (กางเกงขาสั้น) และ (5)
ผ้าโพกศีรษะของผู้ชายในศาสนาซิกข์ เป็นการแสดงออกถึงการสืบทอดศาสนา ชาวซิกข์เชื่อว่าผมเป็นสิ่งที่พระเจ้าประทานให้ตามหลักแห่งธรรมชาติซึ่งเป็นสัจธรรมอันยิ่งใหญ่ ดังนั้น ชาวซิกข์จึงไม่ปลงผมตลอดชีวิต ผ้าโพกของชาวซิกข์จึงสาคัญมาก และจะถูกถอดออกเฉพาะเมื่อมีการลงโทษหรือลบหลู่เกียรติเท่านั้น ส่วนผ้าโพกศีรษะของสตรี เป็นแบบคลุมศีรษะเรียกว่า ดูบัดตา
ผู้นำเข้าข้อมูล
ทินกร ศรีหาภาค ส่งเสริม
ผู้นำเข้าข้อมูล
คำสำคัญ
เสื้อผ้า
เครื่องนุ่งห่ม
อาภรณ์
เครื่องแต่งกาย
เงื่อนไขการอนุญาตให้ใช้งาน (Condition of Use)
อ้างอิงแหล่งที่มาห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า และให้อนุญาตต่อไปแบบเดียวกัน (CC BY-NC-SA)
เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
แก้ไข
เผยแพร่ 12 เม.ย. 66
25
พระสี่เสาร์เปรียบเทียบ
ที่มาของเรื่อง วรรณกรรมเรื่อง พระสี่เสาร์ หรือพระสี่เสาร์กลอนสวดนี้ มีที่มาจากชาดกนอกนิบาตคือ ปัญญา...
ดอกรัก พยัคศรี
ผู้นำเข้าข้อมูล
แก้ไข
เผยแพร่ 18 เม.ย. 66
181
การจัดการข้อมูลเอกสารโบราณแบบครบวงจร
การจัดการข้อมูลที่เป็นเอกสารโบราณตามแนวคิด Digital Lifecycle Management 8 ขั้นตอน เริ่มตั้งแต่การกำห...
ดอกรัก พยัคศรี
ผู้นำเข้าข้อมูล
แก้ไข
เผยแพร่ 18 เม.ย. 66
20
การจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การอนุรักษ์เอกสารโบราณเบื้องต้น การจัดทำทะเบียนเอกสาร การจัดการไฟล์สำเนาดิจทิัลเอกสารโบราณ
ดอกรัก พยัคศรี
ผู้นำเข้าข้อมูล
แก้ไข
เผยแพร่ 18 เม.ย. 66
23
การแปลงเอกสารโบราณให้เป็นดิจิทัลด้วยการถ่ายภาพ
การแปลงเอกสารโบราณให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล และเผยแพร่ในรูปแบบฐานข้อมูลออนไลน์ ถือเป็นการอนุรักษ์รูปแบบ...
ดอกรัก พยัคศรี
ผู้นำเข้าข้อมูล
เพิ่มเข้าไปในคอลเล็กชัน
ทดสอบ
โบราณสถานเมืองเชียงแสน
อาหารในศาสนา (การ์ดเกม ผี พระ เจ้า)
จารึกที่เกี่ยวข้องกับผู้ครองเมืองพะเยา
โบสถ์คริสต์ในประเทศเพื่อนบ้าน
แหล่งโบราณคดีในเกาะรัตนโกสินทร์
พิพิธภัณฑ์ด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดีในประเทศไทย
วิพากษ์ศัพท์มูลวิทยา: ว่าด้วยที่มาของคำ
จารึกพบที่เมืองโบราณศรีเทพ
พิพิธภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา ศมส.
วัสดุและอุปกรณ์ในการทำผ้าบาติก
คำศัพท์นโยบายทางวัฒนธรรม
อิทธิพลศิลปกรรมดัตช์ในมะละกา
Reportage Sketching in Current
My collection(Namphung)
คอลเลกชั่นจอยศรี
ดอกไม้ต้องไปในแดนอีสาน
แม่น้ำท่าจีน
เรื่องทั่วไป
วัดไทยในปทุมธานี
วัดไทยในสมุทรสงคราม
คอลเลคชั่นแมวของสรียา
พื้นที่คุ้มครองวิถีชีวิตฯ
ไทในไทย : พลวัตชาติพันธุ์ภาษาและวัฒนธรรม
โบราณสถานของเวียงกุมกาม จ.เชียงใหม่
ข้าวกับวิถีชีวิต
ในความงามของมัสยิดของอาเซียน
หลุมจัดแสดงทางโบราณคดี
นิทรรศการ “รสชาติอาหารโซ่ง”
ประโยชน์ไผ่
ตำราแมวไทย ฉบับ หมอเห ณ วัดท่าพูด
นานาหน้ากากทางมานุษยวิทยา
สถาปัตยกรรม-ศาสนสถาน
แชร์เนื้อหานี้
title
คัดลอกลิงก์
กรุณาเข้าสู่ระบบ
เข้าสู่ระบบ
เพิ่มเข้าไปในคอลเล็กชัน
ทดสอบ
โบราณสถานเมืองเชียงแสน
อาหารในศาสนา (การ์ดเกม ผี พระ เจ้า)
จารึกที่เกี่ยวข้องกับผู้ครองเมืองพะเยา
โบสถ์คริสต์ในประเทศเพื่อนบ้าน
แหล่งโบราณคดีในเกาะรัตนโกสินทร์
พิพิธภัณฑ์ด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดีในประเทศไทย
วิพากษ์ศัพท์มูลวิทยา: ว่าด้วยที่มาของคำ
จารึกพบที่เมืองโบราณศรีเทพ
พิพิธภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา ศมส.
วัสดุและอุปกรณ์ในการทำผ้าบาติก
คำศัพท์นโยบายทางวัฒนธรรม
อิทธิพลศิลปกรรมดัตช์ในมะละกา
Reportage Sketching in Current
My collection(Namphung)
คอลเลกชั่นจอยศรี
ดอกไม้ต้องไปในแดนอีสาน
แม่น้ำท่าจีน
เรื่องทั่วไป
วัดไทยในปทุมธานี
วัดไทยในสมุทรสงคราม
คอลเลคชั่นแมวของสรียา
พื้นที่คุ้มครองวิถีชีวิตฯ
ไทในไทย : พลวัตชาติพันธุ์ภาษาและวัฒนธรรม
โบราณสถานของเวียงกุมกาม จ.เชียงใหม่
ข้าวกับวิถีชีวิต
ในความงามของมัสยิดของอาเซียน
หลุมจัดแสดงทางโบราณคดี
นิทรรศการ “รสชาติอาหารโซ่ง”
ประโยชน์ไผ่
ตำราแมวไทย ฉบับ หมอเห ณ วัดท่าพูด
นานาหน้ากากทางมานุษยวิทยา
สถาปัตยกรรม-ศาสนสถาน
สร้างใหม่
ที่ตั้ง/พิกัด
สถานะของท่านในการใช้งานระบบ
นักเรียน/นักศึกษา
นักวิจัย
ผู้ปฏิบัติงานทางวัฒนธรรม
ครู/อาจารย์
กระบวนกร/วิทยากร/นักการศึกษา
บุคลากร ศมส.
บุคคลทั่วไป
ระบุความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ / แจ้งร้องเรียน
รูปประกอบ (หากมี)
อัปโหลดไฟล์ที่นี่
รูปภาพควรมีขนาดไม่เกิน 20 MB และ ต้องเป็นไฟล์นามสกุล jpeg, jpg หรือ png เท่านั้น
ข้อมูลจะถูกเก็บรักษาเป็นความลับและดำเนินการต่อตามความเหมาะสม
ส่งข้อเสนอแนะ