ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
(องค์การมหาชน)
ค้นคว้า
สร้างสรรค์
ย้อนกลับ
สร้างสรรค์
สร้างคอนเทนต์
สร้างคอลเล็กชัน
สร้างโครงการ
สร้างใบงาน
ย้อนกลับ
สร้างใบงาน
Timeline
Organization chart
Basic flow chart
Whiteboard
Map route
Mind map
แบ่งปัน
เรียนรู้
ย้อนกลับ
เรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้
หลักสูตร
วิธีการใช้งาน
ตัวช่วยการมองเห็น
ย้อนกลับ
ตัวช่วยการมองเห็น
ก
ขนาดเล็ก
ก
ขนาดปกติ
ก
ขนาดใหญ่
ขยายขนาดตัวอักษร
C
ธีมปกติ
C
ธีมมืด
C
ธีมตาบอดสี
ปรับชุดสี
ขยายขนาดตัวอักษร
ปรับชุดสี
ย้อนกลับ
ขยายขนาดตัวอักษร
ขนาดเล็ก
ขนาดปกติ
ขนาดใหญ่
ย้อนกลับ
ปรับชุดสี
ธีมปกติ
ธีมมืด
ธีมตาบอดสี
เข้าสู่ระบบ
กรุณาเข้าสู่ระบบก่อนสร้างแผ่นงาน
ตกลง
คอนเทนต์
วิถีปฏิบัติ (การ์ดเกม ผี พระ เจ้า)
เผยแพร่ 15 พ.ย. 66
677
0
4
วิถีปฏิบัติ (การ์ดเกม ผี พระ เจ้า)
ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม
วิถีปฏิบัติ
ผู้นำเข้าข้อมูล
ทินกร ศรีหาภาค ส่งเสริม
ผู้นำเข้าข้อมูล
คำสำคัญ
วิถีปฏิบัติ
ศาสนา/พิธีกรรม
ศาสนา
การสวดมนต์ไหว้พระ เป็นวิถีปฏิบัติเพื่อแสดงความเคารพต่อพระรัตนตรัย อีกทั้งเป็นสิ่งพื้นฐานที่พุทธศาสนิกชนสามารถทาได้ด้วยตนเอง จะมีพระสงฆ์นาหรือไม่ก็ได้ การสวดมนต์ไหว้พระในศาสนาพุทธ อาจเป็นการไหว้รูปเคารพแทนพระพุทธเจ้าผู้เป็นศาสดา หรือพระโพธิสัตว์ก็ได้ การสวดมนต์นิยมสวดเป็นภาษาบาลี หรือภาษาของท้องถิ่นของตน และสามารถใช้เป็นส่วนหนึ่งของการฝึกสมาธิได้
วิถีปฏิบัติที่นิยมของชาวพุทธหลังจากทาบุญ โดยเฉพาะนิกายเถรวาท มีความหมายถึงการตั้งใจอุทิศบุญกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับ พร้อมไปกับหลั่งรินน้าเป็นเครื่องหมาย การกรวดน้ามีเรื่องราวที่มาปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎก ทั้งเรื่องพระเจ้าพิมพิสาร และพระเวสสันดรชาดก การใช้น้าเป็นสื่อกลางในการส่งบุญกุศลนั้นเป็นความเชื่อที่มีอยู่ในศาสนาต่างๆ ของชมพูทวีป อย่างไรก็ตาม การกรวดน้ายังมีนัยเกี่ยวกับความเชื่อเรื่องการเวียนว่ายตายเ
การทาเครื่องหมายกางเขน หรือที่ชาวคาทอลิกเรียกว่า การทาสาคัญมหากางเขน (Sign of cross) เป็นวิถีปฏิบัติรูปแบบหนึ่งของชาวคริสต์บางนิกาย เช่น โรมันคาทอลิก โดยการใช้มือแตะที่หน้าผาก ท้อง ไหล่ขวา-ซ้าย (หรือซ้าย-ขวา แตกต่างไปตามนิกาย) พร้อมกล่าวถึงพระตรีเอกภาพ (พระบิดา พระบุตร พระจิต) เพื่อระลึกถึงการสิ้นพระชนม์ของพระเยซูจากเหตุการณ์การตรึงพระเยซูที่กางเขน และพระตรีเอกภาพ สันนิษฐานว่าชาวคริสต์มีธรรมเนียมป
บัพติศมา (Baptism) คือพิธีทางศาสนาที่ทาแก่ทารกที่พ่อแม่นับถือศาสนาคริสต์หรือบุคคลที่หันมานับถือศาสนาคริสต์ โดยจุ่มศีรษะหรือตัวลงในน้าศักดิ์สิทธิ์ หรือเทน้าศักดิ์สิทธิ์ลงบนหน้าผาก เนื่องจากชาวคริสต์เชื่อว่าพระเยซูลงมาเกิดในโลกเพื่อไถ่บาปให้มนุษย์ ทุกนิกายจึงประกอบพิธีนี้เพื่อล้างบาป
ธรรมเนียมปฏิบัติในประเทศไทยในสถานที่ราชการ โรงเรียน และพื้นที่สาธารณะ ปรากฏครั้งแรก พ.ศ.2482 เพื่อให้สอดรับกับธรรมเนียมการเชิญธงชาติในสถานที่ราชการ ณ เวลาทาการ คือ 8 นาฬิกา จนถึง 6 นาฬิกา อย่างไรก็ดี ธงคือสัญลักษณ์หนึ่งของประเทศ โดยพระราชบัญญัติธง พ.ศ.2522 กาหนดให้พลเมืองควรปฏิบัติต่อธงด้วยความเคารพ และยืนตรงเมื่อมีการเชิญธงชาติขึ้นลง หากได้ยินบรรเลงเพลงชาติแต่ไม่เห็นการเชิญธงสามารถหยุดนิ่งในอาการ
สวัสดี คือคาทักทายอย่างเป็นทางการในวัฒนธรรมไทย จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในสมัยนั้นเห็นชอบให้ใช้คาดังกล่าว และออกประกาศรณรงค์ผ่านกรมการโฆษณา (กรมประชาสัมพันธ์) ในวันที่ 22 มกราคม 2486 นอกจากคาทักทายว่า สวัสดีแล้ว คาทักทายที่ประดิษฐ์ขึ้นในช่วงเวลาเดียวกันคือ การทักทายตามเวลาอย่างธรรมเนียมภาษาอังกฤษ ได้แก่ อรุณสวัสดิ์ ทิวาสวัสดิ์ และราตรีสวัสดิ์
พิธีกรรมสัมพันธ์กับความเชื่อเรื่องขวัญเพื่อให้มีขวัญกาลังใจที่ดีขึ้น ขวัญคือจิตหรือวิญญาณแฝงที่มีอยู่ในคน สัตว์ และสรรพสิ่ง ซึ่งสาคัญต่อการดารงชีวิต การจัดบายศรีสู่ขวัญมักทาในช่วงการเปลี่ยนผ่านสาคัญของชีวิต เช่น การเกิด การแต่งงาน การบวช นอกจากนี้ ยังเชื่อว่าการป่วยไข้ หรือ การตาย เกิดจากขวัญที่หายไปจึงมีพิธีเรียกขวัญ เครื่องประกอบพิธีที่สาคัญ
วิถีปฏิบัติเพื่อส่งเสริมดวงชะตาให้ดีหรือแก้ไขสิ่งเลวร้ายให้กลายเป็นดี อาจทาได้หลายวิธีตามความเชื่อในแต่ละกลุ่ม เช่น ตั้งกระทงใส่ข้าวตอกดอกไม้ ผมเล็บหรือตุ๊กตาที่เป็นตัวแทนผู้เข้าร่วมพิธี แล้วนาไปตั้งทิ้งไว้หรือนาไปลอยน้า เพื่อให้สิ่งไม่ดีออกไปพร้อมกับกระทง
ธรรมเนียมปฏิบัติการรดน้าลงบนศิวลึงค์ หรือ เทวรูปที่เคารพสูงสุด โดยพราหมณ์ หรือ บูชารี (นักบวช) นอกจากนี้ ยังมีการสรงน้านม น้าผึ้ง เนยใส แล้วชาระล้างด้วยน้ามะพร้าว น้าผสมทองคาเปลว หรือ น้าปรุงดอกไม้ เมื่อประเทศไทยรับเอาคติเทวราชาเข้ามา กษัตริย์จึงเป็นบุคคลที่อยู่ในสถานะอวตารของเทพ ในพิธีขึ้นครองราชย์จึงมีพิธีสรงมุรธาภิเษก โดยพราหมณ์ประจาราชสานักนาน้าจากสถานที่มงคลทั่วประเทศมาอภิเษกมฺ (รดน้า) ที่มุร
จูฑากรรม
การจับมือสลาม หรือ การสลาม เป็นวิถีการปฏิบัติการทักทาย การเริ่มบทสนทนา และการจากลาของชาวมุสลิม ชาวมุสลิมถือว่าการจับมือสลามมีแบบอย่างมากจากการปฏิบัติของท่านนบีมูฮัมมัด ซึ่งมีภาคผลบุญในการกระทาด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ การสัมผัสนั้นมีหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติคือ กระทาได้ระหว่างชายกับชาย หรือ หญิงกับหญิง หรือ ชายกับหญิงซึ่งอยู่ในฐานะที่แต่งงานกันไม่ได้ เช่น พ่อกับลูก พี่กับน้อง
ละหมาด หรือ นมาซ หรือมาแย คือการนมัสการพระเจ้า เพื่อแสดงความเคารพและความภักดีต่อพระเจ้า รวมไปถึงการขัดเกลาจิตให้สะอาดอยู่ตลอดเวลา การละหมาดจะกระทาวันละ 5 เวลา คือ ย่ารุ่ง กลางวัน เย็น พลบค่า กลางคืน ส่วนสถานที่สาหรับการละหมาดอาจเป็นที่ใดก็ได้ ไม่จาเป็นต้องเป็นมัสยิด แต่ต้องเป็นที่สะอาด การละหมาดทุกครั้งจะต้องหันหน้าไปทางทิศกิบลัต (เมืองเมกกะฮ์)
สาหรับชาวซิกข์แล้ว การชุมนุมเจริญธรรมต่อหน้าพระคัมภีร์คุรุครันธ์ซาฮิปเป็นวิถีปฏิบัติที่สะท้อนความเป็นซิกข์อย่างแท้จริง จุดประสงค์หลักของพิธีสังคัตคือ ให้ชาวซิกข์มีความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน โดยผู้เข้าร่วมพิธีกรรมจะต้องทาทุกอย่างเหล่านี้ด้วยตนเอง เช่น การเช็ดรองเท้า การตักน้า โดยไม่มีใครได้รับการยกเว้นเป็นพิเศษ ใครที่สามารถปฏิบัติด้วยตนเองได้มากจะยิ่งเป็นชาวซิกข์ที่ดี
พิธีให้สัตย์ปฏิญาณว่าจะรักษาและปฏิบัติตามข้อบัญญัติของพระศาสดา พิธีนี้เป็นพิธีที่สาคัญที่ซิกข์ต้องถือปฏิบัติเพื่อแสดงความจานงเป็นศิษย์ของพระศาสดาโดยแท้จริง ผู้ทาพีธีคือ ปัญจปิยะ จานวน 5 คน นาน้าที่ผ่านพิธีจนกลายเป็นน้าอมฤต ให้ผู้เข้าร่วมพิธีดื่ม ผู้เข้าร่วมพิธีจะต้องนั่งด้านหลังปัญจปิยะ และหันหน้าไปทางพระคัมภีร์คุรุครันธ์ซาฮิป แล้วพูดว่า “คัลซาเป็นพระเจ้า ชัยชนะเป็นของพระองค์” (คัลซา หมายถึง ชาวซิ
ผู้นำเข้าข้อมูล
ทินกร ศรีหาภาค ส่งเสริม
ผู้นำเข้าข้อมูล
คำสำคัญ
วิถีปฏิบัติ
ศาสนา/พิธีกรรม
ศาสนา
เงื่อนไขการอนุญาตให้ใช้งาน (Condition of Use)
อ้างอิงแหล่งที่มาห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า และให้อนุญาตต่อไปแบบเดียวกัน (CC BY-NC-SA)
เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
แก้ไข
เผยแพร่ 26 ธ.ค. 67
105
หน้ากากงิ้วจีน (Chinese Opera Mask)
งิ้วจีน หรืออุปรากรจีน เป็นการแสดงละครแบบโบราณของจีน ที่นำเอาเรื่องราวของเหตุการณ์บ้านเมือง ลัทธิควา...
วิภาวดี โก๊ะเค้า
ผู้นำเข้าข้อมูล
แก้ไข
เผยแพร่ 7 มิ.ย. 66
153
สถาปัตยกรรมวัดควน อ. ปานาเระ ปัตตานี
วัดควนที่ปานาเระนี้มีอายุเก่าแก่มากกว่า 100 ปี มีอยู่ 2 วัดด้วยกัน คือ วัดควนใน และวัดควนนอก ชาวบ้าน...
โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์
ผู้นำเข้าข้อมูล
แก้ไข
เผยแพร่ 15 มิ.ย. 66
842
“ข้าว” ในพิธีกรรม
ข้อสังเกตที่น่าสนใจเกี่ยวกับประเพณีที่จะกล่าวต่อไปนี้มักอยู่ในวงจรของการทำนา โดยเฉพาะในช่วงหลังการเก...
รัตนาพร เจียงคำ
ผู้นำเข้าข้อมูล
แก้ไข
เผยแพร่ 19 ต.ค. 66
26
การอุทิศดอกไม้ที่เก่าที่สุด
ธรรมเนียมการอุทิศดอกไม้แด่ผู้ล่วงลับ อาจเกิดขึ้นมาไม่น้อยกว่าหนึ่งหมื่นปีมาแล้ว
ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล
ผู้นำเข้าข้อมูล
เพิ่มเข้าไปในคอลเล็กชัน
โคลงกล
บทความวิชาการด้านภาษาและวรรณกรรมไทย
จารึกสมัยสุโขทัย
จารึกและเอกสารสมัยรัตนโกสินทร์
สาส์นสมเด็จ
จารึกและเอกสารสมัยอยุธยา
จารึกและอักขรวิธี
เครื่องมือล่าสัตว์
ประโยชน์ไผ่
หน้ากากการแสดงและการละเล่น
จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา
จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม
เครื่องใช้ในครัวเรือน : มรดกภูมิปัญญาไทย
มรดกและวัฒนธรรมไทยเพื่อการท่องเที่ยว
วิชามรดกและวัฒนธรรมไทยเพื่อการท่องเที่ยว
หน้ากากพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนา
เครื่องประกอบพระราชอิสริยยศ
เครื่องราชกกุธภัณฑ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
เรือพระราชพิธี
การสะท้อนอัตลักษณ์และความสนใจเฉพาะทางในงานเขียนของนิสิตภาควิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เกมกับมานุษยวิทยา
การ์ดเกม ผี พระ เจ้า
"พิพิธภัณฑ์" "วัด" "แหล่งเรียนรู้" สู่การสอน
ประวัติศาสตร์ชุมชนบ้านห้วยยาง หมู่ 5 และบ้านห้วยยางศรีวิไล หมู่ 15 ตำบลดงเมืองแอม อำเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น
ประวัติศาสตร์ชุมชนบ้านห้วยยาง หมู่ 5 และบ้านห้วยยางศรีวิไล หมู่ 15 ตำบลดงเมืองแอม อำเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์เป็นฐานการเรียนรู้
รายงานการวิเคราะห์ชุมชน บ้านวังตอหมู่ที่10 และหมู่ที่14 ตำบลบ้านค้อ อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
รายงานการวิเคราะห์ชุมชน บ้านหินลาด หมู่ที่ 11 และหมู่ที่ 17 ตำบลบ้านค้อ อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
วิเคราะห์ชุมชน บ้านค้อ หมู่ที่ 3 ตําบลบ้านค้อ อําเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
วิเคราะห์ชุมชน ชุมชนบ้านทุ่งบ่อ หมู่ที่ 3 และ หมู่ที่ 14 ตําบลดงเมืองแอม อําเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น
วิเคราะห์ชุมชนบ้านบ้านโนนเรือง หมู่ที่ 6 และหมู่ที่ 18 ตําบลบ้านค้อ อําเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
วิเคราะห์ชุมชนบ้านดงบัง หมู่4 ตำบลบ้านดง เมืองแอม อำเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น
ความขัดแย้งและความรุนแรง Crisis and Violence
เพลินลงสนาม สำรวจชุมชน
อาเซียนและสังคมร่วมสมัย ม.6
วิเคราะห์ชุมชนบ้านท่อนน้อย หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านค้อ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
แหล่งโบราณคดีที่ภูพระบาท
หน้ากากในการแสดงละครโน
พิพิธภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา ศมส.
ช่างทอง โต๊ะช่างทอง : เครื่องมือและอุปกรณ์
เครื่องมือตัดเย็บเสื้อผ้า (Craft and sewing materials)
หน้ากากบาหลี (Balinese Mask)
วชิรญาณวิเศษ
เอ๋งเอ๋งติ๋งห้าว วรรณกรรมตลกขบขัน
วัฒนธรรมกับการตลาด
โต๊ะช่างทอง
การศึกษาเอกสารโบราณเรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มหาพน ฉบับวัดชนะสงคราม กรุงเทพมหานคร
ประเพณีผูกข้อมือ(ผูกข้อมือ)
รายงานประเด็นการเรียนรู้วิชาศาสนศาสตร์
ศรีเทพ
คำแปลจากเอกสารประวัติศาสตร์ของต่างชาติ
ประติมากรรมสร้างสรรค์จากฮูปแต้ม
จารึกที่กล่าวถึงพระเจ้าชัยวรมันที่ 6
โบราณสถานเมืองเชียงแสน
อาหารในศาสนา (การ์ดเกม ผี พระ เจ้า)
โบสถ์คริสต์ในประเทศเพื่อนบ้าน
แหล่งโบราณคดีในเกาะรัตนโกสินทร์
พิพิธภัณฑ์ด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดีในประเทศไทย
วิพากษ์ศัพท์มูลวิทยา: ว่าด้วยที่มาของคำ
จารึกพบที่เมืองโบราณศรีเทพ
วัสดุและอุปกรณ์ในการทำผ้าบาติก
คำศัพท์นโยบายทางวัฒนธรรม
อิทธิพลศิลปกรรมดัตช์ในมะละกา
Reportage Sketching in Current
My collection(Namphung)
คอลเลกชั่นจอยศรี
ดอกไม้ต้องไปในแดนอีสาน
แม่น้ำท่าจีน
เรื่องทั่วไป
วัดไทยในปทุมธานี
วัดไทยในสมุทรสงคราม
คอลเลคชั่นแมวของสรียา
พื้นที่คุ้มครองวิถีชีวิตฯ
ไทในไทย : พลวัตชาติพันธุ์ภาษาและวัฒนธรรม
โบราณสถานของเวียงกุมกาม จ.เชียงใหม่
ข้าวกับวิถีชีวิต
ในความงามของมัสยิดของอาเซียน
หลุมจัดแสดงทางโบราณคดี
นิทรรศการ “รสชาติอาหารโซ่ง”
ตำราแมวไทย ฉบับ หมอเห ณ วัดท่าพูด
สถาปัตยกรรม-ศาสนสถาน
แชร์เนื้อหานี้
title
คัดลอกลิงก์
กรุณาเข้าสู่ระบบ
เข้าสู่ระบบ
เพิ่มเข้าไปในคอลเล็กชัน
โคลงกล
บทความวิชาการด้านภาษาและวรรณกรรมไทย
จารึกสมัยสุโขทัย
จารึกและเอกสารสมัยรัตนโกสินทร์
สาส์นสมเด็จ
จารึกและเอกสารสมัยอยุธยา
จารึกและอักขรวิธี
เครื่องมือล่าสัตว์
ประโยชน์ไผ่
หน้ากากการแสดงและการละเล่น
จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา
จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม
เครื่องใช้ในครัวเรือน : มรดกภูมิปัญญาไทย
มรดกและวัฒนธรรมไทยเพื่อการท่องเที่ยว
วิชามรดกและวัฒนธรรมไทยเพื่อการท่องเที่ยว
หน้ากากพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนา
เครื่องประกอบพระราชอิสริยยศ
เครื่องราชกกุธภัณฑ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
เรือพระราชพิธี
การสะท้อนอัตลักษณ์และความสนใจเฉพาะทางในงานเขียนของนิสิตภาควิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เกมกับมานุษยวิทยา
การ์ดเกม ผี พระ เจ้า
"พิพิธภัณฑ์" "วัด" "แหล่งเรียนรู้" สู่การสอน
ประวัติศาสตร์ชุมชนบ้านห้วยยาง หมู่ 5 และบ้านห้วยยางศรีวิไล หมู่ 15 ตำบลดงเมืองแอม อำเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น
ประวัติศาสตร์ชุมชนบ้านห้วยยาง หมู่ 5 และบ้านห้วยยางศรีวิไล หมู่ 15 ตำบลดงเมืองแอม อำเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์เป็นฐานการเรียนรู้
รายงานการวิเคราะห์ชุมชน บ้านวังตอหมู่ที่10 และหมู่ที่14 ตำบลบ้านค้อ อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
รายงานการวิเคราะห์ชุมชน บ้านหินลาด หมู่ที่ 11 และหมู่ที่ 17 ตำบลบ้านค้อ อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
วิเคราะห์ชุมชน บ้านค้อ หมู่ที่ 3 ตําบลบ้านค้อ อําเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
วิเคราะห์ชุมชน ชุมชนบ้านทุ่งบ่อ หมู่ที่ 3 และ หมู่ที่ 14 ตําบลดงเมืองแอม อําเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น
วิเคราะห์ชุมชนบ้านบ้านโนนเรือง หมู่ที่ 6 และหมู่ที่ 18 ตําบลบ้านค้อ อําเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
วิเคราะห์ชุมชนบ้านดงบัง หมู่4 ตำบลบ้านดง เมืองแอม อำเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น
ความขัดแย้งและความรุนแรง Crisis and Violence
เพลินลงสนาม สำรวจชุมชน
อาเซียนและสังคมร่วมสมัย ม.6
วิเคราะห์ชุมชนบ้านท่อนน้อย หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านค้อ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
แหล่งโบราณคดีที่ภูพระบาท
หน้ากากในการแสดงละครโน
พิพิธภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา ศมส.
ช่างทอง โต๊ะช่างทอง : เครื่องมือและอุปกรณ์
เครื่องมือตัดเย็บเสื้อผ้า (Craft and sewing materials)
หน้ากากบาหลี (Balinese Mask)
วชิรญาณวิเศษ
เอ๋งเอ๋งติ๋งห้าว วรรณกรรมตลกขบขัน
วัฒนธรรมกับการตลาด
โต๊ะช่างทอง
การศึกษาเอกสารโบราณเรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มหาพน ฉบับวัดชนะสงคราม กรุงเทพมหานคร
ประเพณีผูกข้อมือ(ผูกข้อมือ)
รายงานประเด็นการเรียนรู้วิชาศาสนศาสตร์
ศรีเทพ
คำแปลจากเอกสารประวัติศาสตร์ของต่างชาติ
ประติมากรรมสร้างสรรค์จากฮูปแต้ม
จารึกที่กล่าวถึงพระเจ้าชัยวรมันที่ 6
โบราณสถานเมืองเชียงแสน
อาหารในศาสนา (การ์ดเกม ผี พระ เจ้า)
โบสถ์คริสต์ในประเทศเพื่อนบ้าน
แหล่งโบราณคดีในเกาะรัตนโกสินทร์
พิพิธภัณฑ์ด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดีในประเทศไทย
วิพากษ์ศัพท์มูลวิทยา: ว่าด้วยที่มาของคำ
จารึกพบที่เมืองโบราณศรีเทพ
วัสดุและอุปกรณ์ในการทำผ้าบาติก
คำศัพท์นโยบายทางวัฒนธรรม
อิทธิพลศิลปกรรมดัตช์ในมะละกา
Reportage Sketching in Current
My collection(Namphung)
คอลเลกชั่นจอยศรี
ดอกไม้ต้องไปในแดนอีสาน
แม่น้ำท่าจีน
เรื่องทั่วไป
วัดไทยในปทุมธานี
วัดไทยในสมุทรสงคราม
คอลเลคชั่นแมวของสรียา
พื้นที่คุ้มครองวิถีชีวิตฯ
ไทในไทย : พลวัตชาติพันธุ์ภาษาและวัฒนธรรม
โบราณสถานของเวียงกุมกาม จ.เชียงใหม่
ข้าวกับวิถีชีวิต
ในความงามของมัสยิดของอาเซียน
หลุมจัดแสดงทางโบราณคดี
นิทรรศการ “รสชาติอาหารโซ่ง”
ตำราแมวไทย ฉบับ หมอเห ณ วัดท่าพูด
สถาปัตยกรรม-ศาสนสถาน
สร้างใหม่
ที่ตั้ง/พิกัด
สถานะของท่านในการใช้งานระบบ
นักเรียน/นักศึกษา
นักวิจัย
ผู้ปฏิบัติงานทางวัฒนธรรม
ครู/อาจารย์
กระบวนกร/วิทยากร/นักการศึกษา
บุคลากร ศมส.
บุคคลทั่วไป
ระบุความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ / แจ้งร้องเรียน
รูปประกอบ (หากมี)
อัปโหลดไฟล์ที่นี่
รูปภาพควรมีขนาดไม่เกิน 20 MB และ ต้องเป็นไฟล์นามสกุล jpeg, jpg หรือ png เท่านั้น, วิดีโอควรมีขนาดไม่เกิน 20 MB และ ต้องเป็นไฟล์นามสกุล mp4 เท่านั้น
ข้อมูลจะถูกเก็บรักษาเป็นความลับและดำเนินการต่อตามความเหมาะสม
ส่งข้อเสนอแนะ