รายละเอียดเกี่ยวกับหลักสูตร | |
---|---|
ระยะเวลาการเรียน (Duration) | 50 ชั่วโมง |
วัตถุประสงค์ (Objective) | 1 ผู้เรียนเข้าใจพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับการเกิดขึ้นขององค์กรอาเซียน 2 ผู้เรียนเข้าใจบทบาทอาเซียนกับมิติสังคมและวัฒนธรรมในบริบทโลกาภิวัตน์ 3 ผู้เรียนเข้าใจสถานะและบทบาทของผู้คน กลุ่มสังคม ในอาเซียนในฐานะพลเมืองโลกในบริบทโลกาภิวัตน์ |
ประโยชน์ที่จะได้รับ (Benefit) | 1 มีความเข้าใจพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับการเกิดขึ้นขององค์กรอาเซียน 2 มีความเข้าใจบทบาทอาเซียนกับมิติสังคมและวัฒนธรรมในบริบทโลกาภิวัตน์ 3 มีความเข้าใจสถานะและบทบาทของผู้คน กลุ่มสังคม ในอาเซียนในฐานะพลเมืองโลกในบริบทโลกาภิวัตน์ |
เหมาะสำหรับ (Target group) |
- ครู/อาจารย์ - นักวิจัย - นักศึกษาระดับปริญญาตรี - บุคคลทั่วไป - นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา |
คุณสมบัติผู้เรียน (ถ้ามี) | |
ผู้สอน (Instructor) |
- รองศาสตราจารย์ ดร. พิเชฐ สายพันธ์ หน่วยงาน คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
แนวทางการใช้งาน (Learning and teaching guideline) (ถ้ามี) |
เนื้อหาในบทเรียน |
ความสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปัญหาการนิยามภูมิภาค แนวทางการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียนในระบบโลก ภูมิภาคและอาเซียนในบริบทโลกาภิวัตน์ ภูมิภาคกับภาวะพลเมืองโลก
อ่าน 1 พิเชฐ สายพันธ์. 2566. มานุษยวิทยาอุษาคเนย์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2 ปรานี วงษ์เทศ. 2539. สังคมและวัฒนธรรมในอุษาคเนย์. กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์. 3 เบเนดิกท์ แอนเดอร์สัน. 2016. ไอดา อรุณวงศ์ (แปล, 2562). ไกลกะลา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อ่าน. 4 ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. 2557. “มองไปข้างหน้า ประชาคม/ประชาสังคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน”. ใน พิเชฐ สายพันธ์ และปิยณัฐ สร้อยคำ (บก.). ชุดความรู้อาเซียน “จากคนสู่ประชาคม เรียนรู้อาเซียนในมิติวัฒนธรรม”, ภาค 1 กระบวนทัศน์อาเซียน. หน้า 35-52. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). 5 จักรกริช สังขมณี. 2557. “มานุษยวิทยา/ภูมิภาค/อาเซียน ความวุ่นวายของวัฒนธรรมและความรู้”. ใน พิเชฐ สายพันธ์ และปิยณัฐ สร้อยคำ (บก.). ชุดความรู้อาเซียน “จากคนสู่ประชาคม เรียนรู้อาเซียนในมิติวัฒนธรรม”, ภาค 1 กระบวนทัศน์อาเซียน. หน้า 53-89. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). |
---|
เนื้อหาในบทเรียน |
การนิยามภูมิภาค แนวทางการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
ความหลากหลายของผู้คนและพลเมือง
อ่าน 1 พิเชฐ สายพันธ์. 2566. บทที่ 1-4 ใน มานุษยวิทยาอุษาคเนย์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2 ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. 2563. “ข้อคิดว่าด้วยอาณาบริเวณศึกษากับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา”. ใน ชานันท์ ยอดหงษ์ (บก.), อุษาคเนย์ On the Move. หน้า4-11. กรุงเทพฯ: โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 3 Enfield, N.J. (ed.), 2011. Dynamics of Human Diversity: The Case of Mainland Southeast Asia. Canberra: University of Canberra. 4 ชยันต์ วรรธนะภูติ. 2557. “มานุษยวิทยาและมรรควิธีในการทำความเข้าใจอาเซียน”. ใน ศรัณย์ วงศ์ขจิตร (บก.), อาเซียน: ประชาคมในมิติวัฒนธรรม ความขัดแย้ง และความหวัง. หน้า 131-154. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
5 เบเนดิกท์ แอนเดอร์สัน. 2016. “อาณาบริเวณศึกษา”. ใน ไอดา อรุณวงศ์ (แปล, 2562). ไกลกะลา. หน้า 49-84. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อ่าน. |
---|
เนื้อหาในบทเรียน |
การเคลื่อนย้ายประชากรในยุคก่อนประวัติศาสตร์และ ประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์กับระบบโลก (world system) ในอดีต (แหล่งอารยธรรมและการค้า) การปรับตัวทางศาสนา เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง กับความทันสมัยและอาณานิคม ความเคลื่อนไหวทางสังคมและการเปลี่ยนแปลงสำคัญ
อ่าน 1 Bellwood, Peter. 2006. “Austronesian Prehistory in Southeast Asia: Homeland, Expansion and Transformation”. In Peter Bellwood, James J. Fox and Darrell Tryon (eds.), The Austronesian: Historical and Comparative Perspectives. Pp. 103-118. Canberra: ANU E Press. 2 Reid, Anthony. 1988. Southeast Asia in the Age of Commerce, 1450-1680. Vol I-II. Michigan: Yale University Press. 3 Lapidus, Ira M. 1988. “The Formation of Islamic Societies in Southeast Asia”. In A History of Islamic Societies. Cambridge: Cambridge University Press. 4 Nicholas Tarling (ed.), 1992. The Cambridge History of Southeast Asia. Vol. I-IV. Cambridge: Cambridge University Press. 5 ยศ สันตสมบัติ. 2557. มังกรหลากสี: การขยายอิทธิพลเหนือดินแดนและพันธกิจเผยแพร่อารยธรรมในอาคเนย์. เชียงใหม่: ศูนย์ศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. |
---|
เนื้อหาในบทเรียน |
จุดเริ่มต้นอาเซียนกับบริบทสงครามเย็น การปรับตัวทางการเมืองและเศรษฐกิจหลังสงครามเย็น โลกาภิวัตน์กับอาเซียน บทบาทสถานะ นโยบายพื้นฐานของอาเซียน (The ASEAN Political-Security Community (APSC), The ASEAN Economic Community (AEC), The ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC))
อ่าน 1 TurnBull, C.M. 1992. “Regionalism and Nationalism”. In Nicholas Tarling (ed.), The Cambridge History of Southeast Asia. Vol. IV. Pp. 257-318. Cambridge: Cambridge University Press. 2 Owen, Norman G. 1992. “Economic and Social Change”. In Nicholas Tarling (ed.), The Cambridge History of Southeast Asia. Vol. IV. Pp.139-200. Cambridge: Cambridge University Press. 3 Coclanis, Peter A. and Doshi, Tilak. 2000. Globalization in Southeast Asia. The Annals of the American Achademy of Polotical and Social Science. Vol. 570, 49-64. 4 Ashan Ullah, A.K.M. and Hannah Ming Yit Ho. 2020. Globalisation and Cultures in Southeast Asia: Demise, Fragmentation, Transformation. Global Society. Publish online 05 April 2020. Pp. 1-17. 5 สีดา สอนศรี. 2554. ความร่วมมือส่วนภูมิภาคแนวใหม่ในยุคโลกาภิวัตน์. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 37(2), 10-22. |
---|
เนื้อหาในบทเรียน |
กลุ่มประชากร กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มเพศสภาพ กลุ่มวัฒนธรรมต่าง ๆ ปัญหาอัตลักษณ์กลุ่ม อัตลักษณ์ชาติพันธุ์ อัตลักษณ์ท้องถิ่น อัตลักษณ์ชาติ อัตลักษณ์อาเซียน
อ่าน 1 King, Victor T. 2017. Identities, Nations and Ethnicities: A Critical Comparative Study from Southeast Asia. International Journal of Humanities and Social Science Research, 3, 12-30. 2. Jones, Michael E. 2004. Forging an ASEAN Identity: The Challenge to Construct a Shared Destiny. Contemporary Southeast Asia. 26(1), 140-154. 3 พิเชฐ สายพันธ์. 2566. “พหุเพศสภาพและเพศวิถี”. ใน มานุษยวิทยาอุษาคเนย์. หน้า 187-209. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 4 ปรานี วงษ์เทศ. 2549. เพศสภาวะในสุวรรณภูมิ (อุษาคเนย์). กรุงเทพฯ: มติชน. 5 นิติ ภวัครพันธุ์. 2558. “ชาติพันธุ์ สัมพันธ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”. ใน ชวนถกชาติและชาติพันธุ์. หน้า 135-188. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศยาม. |
---|
เนื้อหาในบทเรียน |
ลักษณะเมืองอาเซียน เมืองโตเดี่ยว (primate city) เมืองมหานคร (mega city) วิถีชีวิตเมือง ชุมชนเมือง วัฒนธรรมความยากจน เมืองกับความเหลื่อมล้ำ สิ่งแวดล้อมเมือง
อ่าน 1 Keyes, Charles. 1977. “Chapter 5 Cities in Changing Societies in Mainland of Southeast Asia.” In The Golden Peninsular: Culture and Adaptation in Mainland Southeast Asia. Pp. 259-338. New York: Macmillan Publishing Co. Inc. 2 ASEAN. 2022. ASEAN Sustainable Urbanisation Report. Sustainable Cities toward 2025 and Beyond. Jarkarta: The ASEAN Secretariat Community Relations Division (CRD). 3 O’Cornor Richard A. 1995. Indigenous Urbanism: Class, City and Society in Southeast Asia. Journal of Southeast Asian Studies. 26(1), 30-45. 4 พิเชฐ สายพันธ์. 2566. “ชีวิตเมือง”. ใน มานุษยวิทยาอุษาคเนย์. หน้า 172-186. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 5 บุญเลิศ วิเศษปรีชา. 2561. สายสตรีท มานุษยวิทยาข้างถนนในมะนิลา. กรุงเทพฯ: Way of Book. |
---|
เนื้อหาในบทเรียน |
อิทธิพลโลกาภิวัตน์กับภูมิภาคในด้าน เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม กระแสท้องถิ่นนิยมและภูมิภาคนิยมในอาเซียน นโยบายอาเซียนกับโลกาภิวัตน์ (The ASEAN Regional Forum (ARF), , ASEAN Plus)
อ่าน 1 คายส์, ชาร์ลส์ เอฟ. 2552. อีสานนิยม: ท้องถิ่นนิยมในสยามประเทศไทย. รัตนา โตสกุล (แปล). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 2 Sujinah, Agus Wardhono And Sofi Yunianti. 2020. Localism and Cultural Preservation Policy in Indonesia: Ideas and Challenges. Advances in Social Science, Education and Humanities Research, volume 436: Atlantis Press SARL. 3 Jackson, Peter A. 1998. The Local, The Regional, And The Global in Southeast Asian Transgender Subcultures. Canberra Anthropology. 21(1), 84-89. 4 Jayant Menon. 2021. Using Regionalism for Globalisation: The ASEAN Way. Singapore: ISEAS-Yusof Ishak Institute. |
---|
เนื้อหาในบทเรียน |
สิทธิมนุษยชน (human rights) ประชาธิปไตย (democracy) ธรรมาภิบาล-โลกาภิบาล (good governance - global governance) สิ่งแวดล้อม (environment) ภัยความมั่นคง (security)
อ่าน 1 ศรีประภา เพชรมีศรี. “คนย้ายถิ่นและระบบการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในอาเซียน”. ใน ชานันท์ ยอดหงษ์ (บก.), อุษาคเนย์ On the Move. หน้า 322-349. กรุงเทพฯ: โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2 Davies, Mathew. 2013. The ASEAN synthesis: Human Rights, Non-intervention, and the ASEAN Human rights Declaration. Georgetown Journal of International Affairs. 14(2), 51-58. 3 Ruland, Jurgen. 2011. Southeast Asian Regionalism and Global Governence: “Multilateral Utility” or “Heding Utility”? Contemporary Southeast Asia. 33(1), 83-112. 4 Acharya, Amitav. 2009. Constructing a Security Community in Southeast Asia: ASEAN and the Problem of Regional Order. Routeledge. 5 Geetanjali Misra and Radhika Chandiramani. (eds.). Sexuality, Gender and Rights: Exploring Theory and Practices in South and Southeast Asia. New Delhi: Sage Publication. |
---|
เนื้อหาในบทเรียน |
ทุนนิยมโลกาภิวัตน์ (trade, investment, innovation) นโยบายเศรษฐกิจการค้าการลงทุนอาเซียน ASEAN connectivity, The ASEAN Free Trade Area (AFTA)
อ่าน 2 Crawford, Darryl. 2000. Chinese Capitalism: Cultures, the Southeast Asian Region and Economic Globalisation. Third World Quarterly. 21(1). 69-86. 3 Reyesn, Raniel SM. 2015. Neoliberal Capitalism, ASEAN Integrationand Commodified Education: A Deleuzian Critique. Budhi: A Journal of Ideas and Culture 19.2 & 19.3 (2015): 135–168. 4 Knight, G.R. 1982. “Capitalism and Commodity Production in Java”. In H. Alavi. (ed.), Capitalism and Colonial Production. London: Routledge Kegan & Paul.
|
---|
เนื้อหาในบทเรียน |
การเคลื่อนย้ายผู้คน แรงงาน สัตว์ สิ่งของ ทุน เทคโนโลยี การย้ายถิ่น ปัญหาภาวะพลเมืองของรัฐ ปัญหาการเคลื่อนย้าย สภาวะข้ามชาติ
อ่าน 1 พิเชฐ สายพันธ์. 2566. “การเคลื่อนย้ายศึกษาและมานุษยวิทยาข้ามพรมแดน”. ใน มานุษยวิทยาอุษาคเนย์. หน้า 210-239. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2 วสันต์ ปัญญาแก้ว. 2555. ลื้อข้ามแดน: การเดินทางของคนหนุ่มสาวชาวลื้อ เมืองยอง รัฐฉาน ประเทศพม่า. เชียงใหม่: ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 3 ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี. 2564. ส่วยชายแดน: มานุษยวิทยากับการศึกษาคอรัปชั่น. เชียงใหม่: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 4 ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และกาญจนี ละอองศรี (บก.). 2552. รัฐชาติ-พรมแดน: ความขัดแย้งและข้อยุติบนเส้นทางสันติภาพอาเซียน. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย และมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 5 Piyasiri Wickramasekera. 2002. Asian Labour Migration: Issues and Challenges in an Era of Globalization. International Migration Programme, International Labour Office Geneva.
|
---|
เนื้อหาในบทเรียน |
อิทธิพลสื่อ วัฒนธรรมประชานิยม จากภายนอกภูมิภาคที่มีผลกระทบต่ออาเซียน อิทธิพลสื่อASEANisation วัฒนธรรมประชานิยมอาเซียน (Southeast Asia pop culture) ที่มีผลในภูมิภาคและนอกภูมิภาค
อ่าน 2 อัมพร จิรัฐติกร. 2563. รสนิยมและแฟนคลับละครไทยในอาเซียนและจีน. เชียงใหม่: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 3 Otmazgin, Nissim and Ben-Ari, Eyal. 2012. Popular Culture and the State in East and Southeast Asia. Abingdon; New York: Routledge. 4 Mohd Azizuddin Mohd San. 2558. The Challenges of Soial Media in ASEAN Community. วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรม นิด้า ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 (ก.ค. –ธ.ค. 2558), 1-24. 5 Favaro, Francesca. 2021. Pop culture and protests: new generations in Southeast Asia. People, Cafoscarinews, 27/07/2021, Ca’ Foscari University of Venice. |
---|
เนื้อหาในบทเรียน |
อิทธิพลโลกออนไลน์ในภูมิภาค เครือข่ายชุมชนอาเซียนในโลกออนไลน์ ความขัดแย้ง ความเคลื่อนไหวทางการเมือง วัฒนธรรมและกลุ่มอัตลักษณ์ในโลกออนไลน์
อ่าน 1 กิตติพล เอี่ยมกมล และคณะ. เทคโนโลยีดิจิทัลกับการเชื่อมโยงถึงกันในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้: แนววิเคราะห์และวิธีวิจัย. วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา. 36(2), 159-176. 2 Ghazali, Suriati and Mohamad Nor, Azilah. 2012. Media Roles in Male-to-Female Transexual Indentity among University Student in Malaysia. IPEDR. 34. 184-190. 3 Anupong Avirutha. 2021. ASEAN in Digital Economy: Opportunities and Challenges. Journal of ASEAN Plus Studies. Vol.2(1). 4 ASEAN Studies Center. 2020. Digitalisation in ASEAN. ASEAN Focus ISSUE 4/2020. Singapore: ISEAS. |
---|
เนื้อหาในบทเรียน |
ความเคลื่อนไหวทางสังคม นโยบายอาเซียนต่อปัญหาความเหลื่อมล้ำ ไม่เท่าเทียม (inequality) เปราะบาง (vulnerability), ไม่มั่นคง (insecurity) ในกลุ่มประชากรต่างๆ เช่น กลุ่มคนยากจน กลุ่มผู้พิการ กลุ่มแรงงานผู้ถูกกดขี่ แรงงานค้ามนุษย์ คนไร้รัฐ คนไร้สัญชาติ กลุ่มเพศสภาพ
อ่าน 1 Beeson, Mark. 2002. Southeast Asia and the Politics of vulnerability. Third World Quarterly. 23(3), 549-564. 2 ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี. 2013. อาเซียนกับคนไร้รัฐ. ประชาไทออนไลน์. (04/07/2013). 3 Haberkorn, Tyrell. 2557. “การบันทึกและการเข้าถึงประวัติศาสตร์ของความรุนแรงในอาเซียน”. ใน พิเชฐ สายพันธ์ และปิยณัฐ สร้อยคำ (บก.). ชุดความรู้อาเซียน “จากคนสู่ประชาคม เรียนรู้อาเซียนในมิติวัฒนธรรม”, ภาค 2 อาเซียนหลากมุมมอง. หน้า 166-189. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). 4 Lee Hwok-Aun and Christopher Choong (eds.). 2021. Inequality and Exclusion in Southeast Asia: Old Fractures, New Frontiers. Singapore: ISEAS – Yusof Ishak Institute. 5 สุรพงษ์ กองจันทึก. 2019. มหากาพย์คนไร้สัญชาติ ข้ามให้พ้นคำถาม “คนไทยหรือเปล่า”. The 101.worldออนไลน์. 17 Jul 2019. |
---|
เนื้อหาในบทเรียน |
นโยบายอาเซียนต่อการสร้างภาวะพลเมืองอาเซียน ความเป็นชุมชนอาเซียน ผู้คนในอาเซียนกับภาวะพลเมืองโลก
อ่าน 1 ยุกติ มุกดาวิจิตร. 2018. อุษาคเนย์ในฐานะพลเมืองโลก. The 101. World. 21 Feb 2018. 2 Weinrich, Amalie Ravn. 2020. The Emerging Regional Citizenship Regime of the Association of Southeast Asian Nations. Journal of Current Southeast Asian Affairs. 40(2), 201-23. 3 Ruland, Jurgen. 2019, Good global citizen? ASEAN’s image building in the United Nations. Asia Pacific Business Review Volume 25(5), 751-771. 4 uriel Gauthier, Muriel. 2013. The ASEAN and the Idea of a Global Citizenship. GSTF International Journal of Law and Social Sciences (JLSS), 3(1), 36-41. 5 ยศ สันตสมบัติ. 2557. “เสรีนิยมใหม่แบบจีนกับอุษาคเนย์”. ใน มังกรหลากสี: การขยายอิทธิพลเหนือดินแดนและพันธกิจเผยแพร่อารยธรรมในอาคเนย์. หน้า 483-512” เชียงใหม่: ศูนย์ศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
|
---|
เนื้อหาในบทเรียน |
อัตลักษณ์เชิงซ้อน ภัยพิบัติจากธรรมชาติ ภัยสิ่งแวดล้อม ภาวะโลกร้อน
อ่าน 2 กนกวรรณ มะโนรมย์. 2565. ภววิทยาแม่น้ำโขง: เขื่อน น้ำของ และผู้คน. กรุงเทพฯ สยามปริทัศน์. 3 Achara, Amitav. (NY) The Evolution and Limitation of ASEAN Identity. ASEAN@50 • Volume 4, 25-38. | Building ASEAN Community: Political–Security and Socio-cultural Reflections 4 Yan Tan and Uthai Uprasen. 2021. Carbon neutrality potential of the ASEAN-5 countries: Implications from asymmetric effects of income inequality on renewable energy consumption. Journal of Environmental Management. Vol.299,(14 p) 5 Khoo, Nicholas. 2004. Deconstructing the ASEAN security community: a review essay. International Relations of the Asia-Pacific Vol. 4(1), 35-46. |
---|